ระบบ AS/RS AS/RS ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ ( Automated Storage/Retrieval System เรียกโดยย่อว่า AS/RS) คือ การทำงานของระบบการจัดเก็บในคลังสินค้าหรือโกดังที่มีการควบคุมด้วยระบบการจัดเก็บวัสดุ การรับวัสดุ รวมทั้งการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ขนถ่าย ที่ทำงานร่วมกับโรงงานและคลังสินค้า ซึ่งสามารถออกแบบการใช้งานให้เหมาะสมกับการทำงานลักษณะต่างๆได้โดยทั่วไปแล้วปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการจัดเก็บและเรียกใช้ของอุปกรณ์แบบ AS/RS จะพิจารณาจากลักษณะโครงสร้างของหิ้งที่ใช้จัดเก็บ ความเร็วในการเคลื่อนของอุปกรณ์ AS/RS ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ ระบบ AS/RS แบ่งออกเป็นแบบต่างๆดังนี้ -UnitLoadAS/RS -MiniloadAS/RS -Man-on-BoardAS/RS หรือ ManaboardAS/RS -AutomatedItemRetrievalSystem - Deep-Lane AS/RS องค์ประกอบพื้นฐานของระบบ AS/RS 1. โครงสร้างที่เก็บวัสดุ ( Storage Structure) 2. เครื่อง S/R (Storage/Retrieval Machine) 3. หน่วยของการเก็บวัสดุ ( Storage Module) 4. สถานีหยิบและฝากวัสดุ ( Pickup and Deposit Station) อุปกรณ์พิเศษของระบบ AS/RS 1. รถเ
บทความ
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
AGV AGV (Automated Guided Vehicle) คือรถลำเลียงสินค้าอัตโนมัติโดยใช้แถบแม่เหล็ก วิชั่น หรือเลเซอร์ เป็นตัวบอกทิศทางให้กับรถเวลาเคลื่อนที่ ส่วนมากใช้ในงานอุตสาหกรรม/โรงงาน/คลังสินค้า ไว้ลำเลียงสินค้า/ชิ้นงาน จากจุดหนึ่งไปสู่อีกจุดหนึ่ง ปัจจุบัน AGV เป็นที่นิยมมากขึ้นเนื่องจาก AGV ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการ ทำงาน ลดข้อผิดพลาดหรือปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้แรงงานคน LGV Forklift รถโฟล์คลิฟอัติโนมัติที่ใช้เทคโนโลยี Laser Navigator ในการกำหนดเส้นทางเพื่อขนย้าย/จัดเก็บสินค้าแทนการใช้คนขับ แบบบรรทุก สำหรับการขนย้ายสิ่งของโดยบรรทุกไว้บนตัวรถ หรือสามารถนำไปใช้เป็นสถานีสำหรับประกอบงาน แบบลากจูง สำหรับการนำรถเข็นมาต่อพ่วงเพื่อลากจูง แบบเกี่ยวลาก (ลอดใต้) สำหรับการลอดใต้ไปเกี่ยวลากรถเข็นเพื่อไปส่งยังจุดต่างๆ
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
สายพานลำเลียง สายพานลำเลียง ( Belt conveyor) สายพานลำเลียง ( Belt conveyor) คือ อุปกรณ์ลำเลียง ( Conveyor) ที่มีลักษณะเป็นสายพาน ( Belt) สามารถแบ่งได้เป็น 6 ประเภท คือ 1. สายพานลำเลียงพีวีซี ( PVC belt conveyor), 2. สายพานลำเลียงพียู ( PU belt conveyor), 3. สายพานลำเลียงโวลต้า ( Volta belt conveyor), 4. สายพานลำเลียงยางดำ ( Rubble belt conveyor), 5. สายพานลำเลียงไวเมท ( Wire mesh belt conveyor), 6. สายพานลำเลียงโมดูล่า ( Modular belt conveyor) ซึ่งการใช้งานสายพานลำเลียง ( Belt conveyor) จะมีลักษณะการใช้งานที่แตกต่างกันไป และมีข้อดี ข้อเสีย แตกต่างกันไป การเลือกใช้งานสายพานลำเลียง ( Belt conveyor) จะขึ้นอยู่กับวัสดุที่ใช้ลำเลียงเป็นหลัก ซึ่งสายพานลำเลียง ( Belt conveyor) แต่ละชนิดจะรายละเอียดดังนี้คือ สายพานลำเลียงพีวีซี ( PVC belt conveyor) สายพานลำเลียงพีวีซี ( PVC belt conveyor) คือ อุปกรณ์ลำเลียง ( Conveyor) ที่มีลักษณะของผิวสายพาน( Belt) ที่เป็น PVC ( Poly Vinyl Chloride) มีความหนา 2.0-4.0 มิลลิเมตร ผิวด้านบนมัน ผลิตจาก Potyvinylchloride cadmiumfree
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
เครื่องจักร NC เครื่องจักร NC ย่อมาจาก Numerical Control หมายถึงการควบคุมการทำงานของเครื่อง NC ด้วยคำสั่งเชิงตัวเลขและตัวอักษรที่ถูกสร้างขึ้นมาในรูปของคำสั่งซึ่งก็คือ โปรแกรม NC. ระบบ NC ซึ่งนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1950 ซึ่งส่วนมากจะถูกนำมาใช้ในการควบคุมการทำงานของเครื่องมือกลเป็นส่วนใหญ่. ในปัจจุบันระบบ NC จะถูกแทนที่ด้วยระบบ NC เกือบทั้งหมด ทั้งนี้เนื่องจากว่าในระบบ NC ไม่มีคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการทำงาน อีกทั้งเครื่องจักรที่ถูกควบคุมด้วย NC ก็ไม่มีการผลิตออกมาใช้งานแล้ว. ระบบ NC มีส่วนประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ 1. ชุดคำสั่ง ( Programmed) คือคำสั่งในแต่ละขั้นตอนเพื่อกำหนดให้เครื่องจักร NC ทำงานตามที่เราต้องการ โดยที่ชุดคำสั่งนี้จะถูกสร้างขึ้นในลักษณะของตัวเลข ตัวอักษรสัญลักษณฺ์ต่างๆ แล้วเก็บไว้ในเทปกระดาษที่เจาะรู เมื่อจะนำไปใช้งานก็จะใช้เครื่องอ่านเทปเพื่อแปลรหัสคำสั่งให้ทำงานตามขั้นตอน. 2. หน่วยควบคุมการทำงานของเครื่องหรือเอ็มซียู ( MCU : Machine Control Unit) คือส่วนที่ทำหน้าที่อ่านและตีความหมายของคำสั่งเ
หุ่นยนต์
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
หุ่นยนต์อุตสาหกรรม ความหมาย หุ่นยนต์อุตสาหกรรมในปัจจุบันมีมากมายหลากหลายรูปแบบ มีการใช้งานและจุดเด่นที่แตกต่างกัน Modern Manufacturing ขอนำเสนอรูปแบบหุ่นยนต์ที่สามารถเจอได้ในอุตสากรรมการผลิตในยุคปัจจุบัน หุ่นยนต์อุตสาหกรรม : หมายถึง การควบคุมอัตโนมัติ ความสามารถในการถูกตั้งโปรแกรมหรือการตั้งค่าการทำงานได้อย่างหลากหลายด้วยระบบตั้งแต่ 3 แกนขึ้นไป สามารถเป็นได้ทั้งรูปแบบติดตั้งและรูปแบบที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ โดยสามารถจำแนกประเภทได้ตามลักษณะโครงสร้างดังนี้ Linear Robot Linear Robot คือ หุ่นยนต์ ที่ทำงานบนแกนตั้งฉากซึ่งหมายรวมถึง หุ่นยนต์ แบบ Cartesian และ Gantry เอาไว้ด้วยกัน โดยสามารถทำงานได้บน 3 แกน X Y และ Z ด้วยการเคลื่อนที่แนวตรงทำให้การทำงานมีความแม่นยำสูงและออกแบบการทำงานได้ง่าย มีความแข็งแกร่งทนทานเนื่องจากมีระยะการใช้งานที่แน่นอน นิยมใช้ในการหยิบจับเพื่อทำการประกอบ เช่น การประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ หรือติดชิ้นส่วนยานยนต์ด้วยสารเคมี SCARA Robot SCARA หุ่นยนต์ ที่มีความโดดเด่นเรื่องความคล่องแคล่วรวดเร็วแต่มีข้อจำกัดสำหรับระยะการปฏิบ
เพื่อนๆในเอกที่น่ารักๆทกคน
- รับลิงก์
- X
- อีเมล
- แอปอื่นๆ
สมาชิกในห้อง อาจาร์ ธภัทร ชัยชูโชค อาจารย์ปาล์ม นาย พงศ์ศิริ ปิ่นพงศ์ เต้ย นาย ศราวุธ บูหมิ ฟิก นาย ภูทัติ ศรีสวัดิ ภู นาย อิมรอน เบ็นหมัดหนิ รอนน นาย สถาพร ดำคง หนึ่ง นาย สุธิดา หนูปลอด หมิว นางสาว หิรัณยา บุญแก้ว บีม นางสาว กนิษฐา หนูนุ่น ฝน นางสาว สุวดี ทองรักษ์ เดียร ์ นางสาว ขนิษฐา แดงนำ นิ้ง นาย ธีรภัทร บุญช่วย ทีน นาย ชนัตร กาญจนะเเก้ว เต้ยใหญ่ นาย นนธวัช อินทรงค์ นนท์ นาวสาว รุสมี เขร็มกา มี่ นาย ภควัฒน์ ศรีสุวรรณ อาร์ม นาย ณัฐรินทร์ ลือวิพันธ์ แทน